WiTcast 79.2 – จริยธรรม Ai / ตอบคำถามทางบ้านต่อ

แขกรับเชิญตอนนี้ อ.ม็อค ผนวกเดช สุวรรณทัต (บน) และอ.ท็อป วัชรพัฐ เมตตานันท (ล่าง) เว็บไซต์สาขาคอมพิวเตอร์ สสวท. http://oho.ipst.ac.th Facebook: สาขาคอมพิวเตอร์ สสวท. www.facebook.com/oho.ipst/ เว็บอย่างไม่เป็นทางการเกี่ยวกับหนังสือเรียนประถมศึกษา (โป้งก้อยอิ่ม) website: www.pongkoiim.com FB page: “บันทึกของโป้งก้อยอิ่ม” http://fb.com/pongkoiim วิธีการซื้อหนังสือแบบเรียนฉบับการ์ตูน​ (โป้งก้อยอิ่ม) – short URL (เพื่อซื้อจากศึกษาภัณฑ์ออนไลน์): http://pongkoiim.com/buy – วิธีการซื้อแบบอื่น (เช่น ซื้อจากร้าน หรือสั่งซื้อแบบขายส่ง): https://www.pongkoiim.com/go/?page_id=2 เว็บไซต์ที่ใช้ฝึกเขียนโปรแกรมสำหรับเด็กและคนทั่วไป: www.code.org ————————–   ประเด็นความเป็นส่วนตัวของข้อมูล เรื่องข้อมูลการแพทย์ที่ไม่เผยชื่อ แต่สุดท้ายไปเทียบกับข้อมูลชุดอื่นแล้วบอกได้อยู่ดี –1,2,3 ข่าว Netflix Prize –1,2 ประเด็น Ai Bias การเหยียดเพศ เหยียดผิว ที่เกิดโดยไม่ตั้งใจ  […]

WiTcast 79.1 – Computing Science คืออิหยัง? แนวคิดใหม่ในการสอนคอมพ์ให้เด็กไทย

แขกรับเชิญตอนนี้ได้แก่ อ.ม็อค ผนวกเดช สุวรรณทัต (บน) และอ.ท็อป วัชรพัฐ เมตตานันท (ล่าง) ทั้งสองมาร่วมแชร์ประสบการณ์อยู่ในทีมออกแบบหลักสูตร+ตำราใหม่ ที่จะเริ่มสอน “Computing Science” หรือ “วิทยาการคำนวณ” ให้กับเด็กไทยตั้งแต่ ป.1 รูปนี้อ.ท็อปถ่ายคู่กับรูปปั้น al-Khwarizmi ผู้ให้กำเนิดอัลกอริทึม ระหว่างพาเด็กไปแข่งคอมพิวเตอร์โอลิมปิกที่อิหร่าน   ใน WiTcast ตอน 79.1 นี้ ผม (แทนไท ประเสริฐกุล) ฟังอ.ม็อค กับอ.ท็อป เล่าถึงตำราชุด “โป้งก้อยอิ่ม” ของ สสวท. แล้วทึ่งมาก ทำออกมาได้ทันสมัยสุดๆ ตั้งแต่การดำเนินเรื่องด้วยการ์ตูนทั้งเล่ม ไปจนถึงบทเรียนที่แทรกอยู่อย่างเนียนมากๆ จนเด็กไม่รู้ตัวว่ากำลังเรียน นึกว่าเล่นเกมสนุกสนาน ที่ไหนได้ พอเล่นเสร็จ ปรากฏว่าได้เข้าใจการ “คิดอย่างเป็นระบบ” ไปแล้ว การเรียนรู้แบบนี้จะเป็นพื้นฐานที่นำสู่หลายสิ่งต่อไป ตั้งแต่การเขียนโปรแกรม ไปจนถึงการรู้เท่าทันเทคโนโลยีต่างๆ ในโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา นอกจากเขียนตำราแล้ว จารย์ท็อปกับจารย์ม็อคยังเป็นโค้ชพาเด็กไปแข่งคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศด้วย มีเกร็ดสนุกๆ มาเล่าให้ฟังมากมาย […]

WiTThai – s02e04 “Art for the Blind” ศิลปะปิดตาเห็น กับอ.สัญชัย สันติเวส และอ.นิธิวดี ทองป้อง

ถ้าฟังจบแล้วเชิญทำแบบสอบถามได้ที่นี่ (คลิก) วิทย์ไทยตอนนี้ฉีกจากโลกสายวิทย์ไปดูฝั่งสายศิลป์กันบ้างครับ โดยมีโจทย์คือ “จะออกแบบห้องเรียนศิลปะอย่างไร ให้เด็กตาบอดสามารถเรียนร่วมกับเด็กธรรมดาได้อย่างมีความสุข” สื่อการสอนที่อ.สัญชัย และอ.นิธิวดี (คณะสถาปัตย์ ม.ขอนแก่น) คิดค้นขึ้นมา มีผสมผสานทั้งแบบไฮเทค (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) และโลเทค (ปูนปั้น) เรื่องราวเป็นอย่างไร มาฟังกันครับ   วิดิโอประกอบตอน ภาพบรรยากาศการคุย อ. สัญชัย สาธิตการใช้โปรแกรมเปลี่ยนสีเป็นเสียง สำหรับให้น.ร.ตาบอดดูรูป Starry Night ประกอบกับการคลำภาพนูนต่ำ เพื่อสัมผัสฝีแปรง อ. สัญชัยสาธิตโปรแกรมในโหมดวาดรูป  ตัวอย่างผลงานของน้องตาบอดที่มาร่วมใช้โปรแกรมวาดรูปในวิทยานิพนธ์หลักสูตรป.เอกของอ.สัญชัย (สาขาศิลปะการออกแบบ ม.ศิลปากร) รูปเกี่ยวกับ ร.9 ชื่อผลงาน “การรอคอย” ของน้องต้า  รูปผลงาน “ทะเลหาดทรายท้องฟ้า” ของน้องแอน ครับ : ) อ. หญิง นิธิวดี เข้ามาร่วมถ่ายทอดความในใจเกี่ยวกับปัญหาของหลักสูตรวิชาศิลปะบ้านเรา อ. ฮั้ว เล่าเรื่องการใช้วีนัส 3 ยุค เป็นตัวแทนในการสอนเรื่องศิลปะยุคต่างๆ Venus of […]

WiTThai – s02e03 “Doctor Mutant” อ.วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ผู้เชี่ยวชาญโรคพันธุกรรมหายาก

ถ้าฟังจบแล้วเชิญทำแบบสอบถามได้ที่นี่ (คลิก) ฟังอ.วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ (นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ปี 2559 และคนไทยคนแรกที่รับรางวัล Newton Prize) แชร์ข้อคิด ประสบการณ์ การทำงาน การใช้ชีวิต ความรู้เรื่องโรคพันธุกรรมหายาก และวิชาเวชพันธุศาสตร์ ชีวิตที่สมดุลย์ วัยเด็กที่อบอุ่นและใกล้ชิดธรรมชาติ – สมดุลย์ระหว่างการเรียนกับการเล่น มุมมองการศึกษา – สมดุลย์ของเด็กที่เรียกว่า “เก่ง” มุมมองความสำเร็จ – อะไรคือปัจจัยที่ทำให้คนเราไปได้ไกล? มุมมองวงการวิจัย – ทำไมเมืองนอกไปได้ไกลกว่าเมืองไทย? เคล็ดลับการสร้างทีม – เริ่มจากศูนย์ จนเป็นศูนย์วิจัย ทำได้ไง? เคล็ดลับการใช้ชีวิต – สมดุลย์ 4 อ. มีอะไรบ้าง ต้องไปฟัง   โรคพันธุกรรมหายาก หายากขนาดไหน? มีอะไรบ้าง? การกลายพันธุ์ในชีวิตจริง เหมือนหรือต่างกับในหนังอย่างไร? การเข้าใจโรคหายาก ทำให้เข้าใจโรคหาง่ายได้ยังไง? สิ่งที่หมอเรียนรู้จากคนไข้ นอกจากเรื่องวิชาการ ปรัชญาความหลากหลายและความสมดุลย์ในธรรมชาติ   คำถามแถมท้าย ธุรกิจ […]