Podcast: Play in new window | Download (Duration: 2:05:01 — 57.3MB)
Subscribe: Google Podcasts | Spotify | RSS | More
SHOW NOTE
Jupiter’s great red spot จุดแดงยักษ์บนดาวพฤหัสหดตัว –1,2,3,4
Self-healing material วัสดุซ่อมแซมตัวเอง
พลาสติกเลียนแบบการแข็งตัวของเลือด –1,2,3,4,5
กลไก self healing แบบ microcapsule
กลไก self-healing เลียนแบบระบบเส้นเลือด
งานแต่งนัท มีเรีย
ขนาดหนูป่ายังชอบถีบจักร –1,2,3,4,5,6
NASA ทำบัญชีรายชื่อแบ็คทีเรียบนยานอวกาศ –1,2,3,4,5
ทฤษฎี Panspermia
รวมทฤษฎีเด่นๆ เรื่องกำเนิดชีวิต –1,2
ทำไมหนวดปลาหมึกไม่ดูดตัวเอง? / ปรัชญาการสร้างหุ่นยนต์ –1,2,3,4,5,6,7
Asimo vs. Big Dog
ข่าวพบ cepheid star นอกจานกาแล็กซี่ ช่วยเพิ่มความเข้าใจเรื่องตำแหน่งของ dark matter –1,2
เล่าถึงประวัติการค้นพบและความสำคัญของ Cepheid variable tars –1,2,3
เริ่มจากพบดาวบางดวงเดี๋ยวก็มืดลงเดี๋ยวก็สว่างขึ้น ทุกๆ 1-50 วัน สม่ำเสมอ
จากนั้นพอดูเยอะๆ พบความสัมพันธ์ ยิ่ง period นาน ยิ่งสว่างมาก
หมายความว่า ถ้ารู้ period เอามาคำนวณหาความสว่างที่แท้จริงของดาวนั้นได้
จากนั้นพอเอาค่ามาเทียบกับความสว่างที่เห็นในกล้อง ดูว่าต่างกันเท่าไหร่ ก็จะรู้ว่าดาวนั้นอยู่ห่างออกไปเท่าไหร่
วิดิโออธิบายละเอียดว่า รู้ period ดาวเซเฟอิดแล้วเอามาคำนวณหาระยะห่างจากโลกได้อย่างไร
ความสามารถรู้ระยะทางนี้ นำไปสู่การค้นพบที่สำคัญอื่นๆ อีกหลายอย่างเช่น
– รู้ว่ารูปทรงของกาแล็กซี่ทางช้างเผือกเป็นยังไง ใหญ่แค่ไหน โลกเราอยู่ตรงไหน
– เป็นครั้งแรกที่คนเรารู้ว่าดาวบางดวงอยู่ไกลออกไปในกาแล็กซี่อื่น และทางช้างเผือกไม่ใช่กาแล็กซี่เดียวในจักรวาล
ประวัติการพบ
1596 David Fabricius สังเกตดาว Mira
1784 John Goodricke สังเกตดาว Delta Cephei
Henrietta Leavitt ผู้ค้นพบดาวเซเฟอิดกว่า 2000 ดวง
Arthur Eddington อธิบายกลไกว่าทำไมดาวเซเฟอิดถึงเดี๋ยวมืดเดี๋ยวสว่าง
การวัดระยะทางด้วย Stellar parallax
Update เบร้อ
ภูเขาไฟ Tambora –1,2,3,4,5,6
ส่งผลให้เกิด global cooling ผลผลิตเกษตรของยุโรปอเมริกาล้มเหลววอดวาย
เถ้าภูเขาไฟทับถมแข็งตัว กีดขวางการคมนาคมทางน้ำ
ส่งผลให้เกิดอหิวาระบาดครั้งใหญ่ครั้งแรกที่อ่าวเบงกอล ซึ่งต่อมาแพร่ไปถึงยุโรป