WiTcast – episode 27.3 Nobel ฟิสิกส์ เคมี / WiT Game

แชร์เรื่องนี้ต่อ

สรุปเนื้อหาในตอน (ซ่อนไว้ก่อนเผื่อเข้าข่าย Spoiler - คลิกเพื่อเปิดดู)
รางวัลโนเบล 2014 / สาขาฟิสิกส์ BLue LED / สาขาเคมี Super-resolved fluorescence microscopy / เฉลยปริศนากระจกเงา / ประกวดออกแบบโลโก้ / WiTcast Awards

กดฟัง WiTcast ตอนที่ 27.3

download ไฟล์ MP3 (คลิกขวา save link as)

PODCAST / iTUNES

สำหรับผู้ที่ใช้ iPhone, ipod ท่านสามารถใช้แอ็พ iTunes/Podcasts สมัครเป็นสมาชิกรายการให้โหลดเองอัตโนมัติได้ โดยเสริชหา witcast หรือ subscribe ผ่าน feed นี้โดยตรง http://feeds.feedburner.com/witcast

ร่วมบริจาคเงินสนับสนุนรายการได้โดยโอนเข้าบัญชี :

ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาบิ๊กซี สะพานควาย
เลขบัญชี 0332935256
ชื่อ แทนไท ประเสริฐกุล

หรือส่งผ่าน paypal มาที่ yeebud@gmail.com

————————————————————-

SHOW NOTE

Nobel สาขาฟิสิกส์

Nobel+Prize+for+Physics+2014

[youtube https://www.youtube.com/watch?v=aRn4_zDDxg4]

มอบให้ “blue LED” ซึ่งนำสู่การผลิตแสงสีขาวที่ประหยัดไฟมากๆๆๆๆๆ

ตอนแรกมีแต่สีแดงกับเขียว ไม่มีใครประดิษฐ์สีน้ำเงินได้อยู่ 30 ปี ถึงเอามาผสมกันเป็นแสงขาวได้

nongeo_4-lg

วิวัฒนาการหลอดไฟ

led1

led2
award10
award1

โนเบลสาขาเคมี “สุดยอดกล้องจุลทรรศน์ภาพละเอียด super-resolved fluorescence microscopy

Screen+Shot+2014-10-08+at+7.44.49+AM

GFP_Superresolution_Christoph_Cremer

3D-SIM-3_Prophase_3_color

ส่องดูรูบนผิวนิวเคลียส

ดูเส้นใย actin
Focal adhesions and actin-jpeg

nobel-nanomicroscopy-3

เทคนิกที่ 1 Stimulated emission depletion (STED) microscopy 

เทคนิก 2 Single Molecule Microscopy

[youtube https://www.youtube.com/watch?v=FbfwcroJqWM]

[youtube https://www.youtube.com/watch?v=0NCNy6pVIZE]

WiT Game

คำคอบจากคุณ

Ekkapop Sittiwantana

ขอตอบคำถาม witcast 26.3 ครับ

คำถามข้อ 1 “ทำไมภาพในกระจกกลับซ้าย – ขวา แต่ไม่กลับ บน-ล่าง”

ความจริงแล้วภาพในกระจกสะท้อนผิววัตถุโดยไม่กลับซ้ายขวา แต่การกลับภาพ เกิดขึ้นจากกระบวนการกลับภาพก่อนเอาไปส่องกระจก และจากกระบวนการตีความภาพในกระจกว่ากลับซ้ายขวาหรือไม่ พิจารณากรณีตัวอย่างทั้ง 3 กรณีต่อไปนี้

กรณีที่ 1: เบร้อกลับภาพก่อนเอาไปส่องกระจก ภาพในกระจกจึงกลับซ้าย – ขวา (ผู้สังเกต 4 ในภาพประกอบ A)
กรณีที่ 2: ผู้สังเกตยืนอยู่ระหว่างวัตถุจริง กับภาพในกระจก ก็จะสับสนภาพกลับ ซ้าย – ขวา (ปรากฏการณ์เช่นเดียวกับกรณีที่1 แต่เปลี่ยนจากการกลับภาพ เป็นการกลับตัวของผู้สังเกต) (ดูภาพผู้สังเกต 1 และ 2 ในภาพ B)
กรณีที่ 3: วัตถุจริงอยู่ระหว่างผู้สังเกตกับภาพในกระจก แม้จะเห็นภาพวัตถุกับภาพในกระจกในทิศซ้าย – ขวา เดียวกัน แต่หากเผลอคิดทิศทางในมุมมองของภาพในกระจก ก็จะคิดว่าภาพกลับทิศซ้าย-ขวา เช่นเดียวกัน (ดูคำรำพึงของผู้สังเกต 3)

ตอบคำถามข้อที่ 2 “ทำไมภาพในกระจกไม่กลับบนล่าง”

ก็เพราะเมื่อเราส่องกระจก เราวางวัตถุไว้ถูกทิศบน-ล่าง (แกน y) เสมอ
(เอาด้านล่าง ไว้ด้านล่างเสมอ เอาด้านบน ไว้ด้านบนเสมอ)
ภาพในกระจกจึงไม่เคยกลับแกนตั้ง (บน – ล่าง)

(ทั้งภาพ A และ B ไม่มีใครเลย ที่เบร้อทิศบน – ล่าง)

ป.ล. จะตอบคำถามข้อนี้นั้น ผมกับน้องคุยกันอยู่นาน ดีใจที่หาคำตอบได้จากกระบวนการคิดวิเคราะห์โดยที่ไม่ search google ดูซะก่อน รู้สึกฟินไม่ว่าคำตอบที่คิดกันมานั้นจะถูกหรือไม่ก็ตาม

witcast ตอนนี้ชอบมากครับ quize ก็ดีมากทีเดียว
10634195_10152619328241007_451000451_n

WiTcast Awards 2014

สาขาฟิสิกส์ ดาราศาสตร์

award2

award3
award 4    award5

สาขาสามัญชน

award6 award7

award8 award9