WiTcast – episode 47.2 James Webb / Hubble ตอบคำถามอวกาศ

แชร์เรื่องนี้ต่อ

James Webb คือใครหว่า? / 3 ภาพคลาสสิกกับความ EPIC ของกล้อง Hubble / ตอบคำถามทางบ้าน / แถมท้าย ช่วงสองหนุ่มนวดข่าว


 

SHOW NOTE

ใครสนใจสั่งภาพ Hubble เข้ากรอบสวยงามเชิญได้ที่หน้าเพจ https://www.facebook.com/witcastthailand หรืออีเมล witcastthailand@gmail.com ครับ ขอบคุณมากครับ

img_25591129_202429

img_25591211_161550

James Webb คือใคร? ทำไมกล้องโทรทรรศน์จึงตั้งชื่อตามเขา –1,2,3

gallery-webb-telescope_0 james-and-werner1

3 ภาพ EPIC ผลงานกล้อง Hubble

2. Pillars of Creation1,2,3,4

Image result for pillars of creation

กลุ่มแก๊ซและฝุ่นที่เป็นส่วนหนึ่งของ Eagle Nebula ห่างจากโลก 6500 ปีแสง เป็นโซนที่ทุกอย่างกำลังขมวดแน่นร้อนระอุเข้ามา และให้กำเนิดดาวฤกษ์ดวงใหม่ๆ พระอาทิตย์ของเราก็น่าจะถือกำเนิดแบบนี้เช่นกัน ความใหญ่ของโครงสร้างนี้คือลองดูจุดแดงๆ แต่ละจุดนั่นเทียบเท่ากับดวงอาทิตย์ 1 ดวง หรือใหญ่กว่าเป็นร้อยเท่า (ถ้ามองเป็นนิ้วมือ นิ้วซ้ายสุดนั้นสูงประมาณ 4 ปีแสง) ดาวที่เกิดใหม่จุดชนวนนิวเคลียร์และปลดปล่อยพลังในช่วงคลื่น ultraviolet ออกมามหาศาล ซึ่งแก๊ซรอบๆ ซับไว้แล้วคายแสงออกมาทำให้เกิดความสว่างอย่างที่เห็นในภาพ พลังงานและรังสีสารพัดรูปแบบที่พุ่งพล่านออกมาจากดาวเกิดใหม่ยังพัดให้แก๊ซและฝุ่นควันต่างๆ ปลิวกระจายหายไปเรื่อยๆ อย่างรวดเร็ว จนทุกวันนี้ ตัวเสา Pillars น่าจะถูกซัดหายไปหมดแล้ว ภาพที่เราเห็นจึงเป็นเพียงภาพจากอดีตในจังหวะที่หาดูชมได้ยากนัก

Explanation: To celebrate 25 years (1990-2015) of exploring the Universe from low Earth orbit, the Hubble Space Telescope’s cameras were used to revisit its most iconic image. The result is this sharper, wider view of the region dubbed the Pillars of Creation, first imaged by Hubble in 1995. Stars are forming deep inside the towering structures. The light-years long columns of cold gas and dust are some 6,500 light-years distant in M16, the Eagle Nebula, toward the constellation Serpens. Sculpted and eroded by the energetic ultraviolet light and powerful winds from M16’s cluster of young, massive stars, the cosmic pillars themselves are destined for destruction. But the turbulent environment of star formation within M16, whose spectacular details are captured in this Hubble visible-light snapshot, is likely similar to the environment that formed our own Sun.

ถ้าซูมเอาท์ออกมาจะเห็นแบบนี้
See Explanation. Clicking on the picture will download the highest resolution version available.

ถ่ายในช่วงคลื่น infrared มองทะลุฝุ่นได้ เห็นดาวระยิบมากกว่าเดิม

eagle_nebula_hubble_visible_infrared_600px

img_25591129_202723_sm

2. Butterfly Nebula –1,2,3,4 
800px-ngc_6302_hubble_2009-full

เนบิวล่าผีเสื้อ สยายปีกกว้างกว่า 2 ปีแสง จริงๆ แล้วปีกนี้คือสสารและแก๊ซที่ระเบิดเปรี้ยงออกมาจากศูนย์กลาง ซึ่งเป็นดวงดาวที่ดับสลายตามอายุขัย แก๊ซในเนบิวล่านี้มีอุณหภูมิประมาณ 250,000 เซลเซียส สุกสว่างด้วยรังสีพลังงานสูง และกำลังพุ่งด้วยความเร็วหลายร้อยกิโลเมตรต่อวินาที เป็นภาพตัวแทนของการตายที่รุนแรงแต่งดงาม ภาพนี้เชื่อมต่อกับภาพแรกตรงสสารที่กระจัดกระจายจากการระเบิด supernova ของดาวดวงหนึ่ง สักวันก็จะขมวดแน่นเข้ามาและให้กำเนิดดาวดวงใหม่ เป็นวัฏจักรเช่นนี้มาหลายชั่วรุ่น

Explanation: The bright clusters and nebulae of planet Earth’s night sky are often named for flowers or insects. Though its wingspan covers over 3 light-years, NGC 6302 is no exception. With an estimated surface temperature of about 250,000 degrees C, the dying central star of this particular planetary nebula has become exceptionally hot, shining brightly in ultraviolet light but hidden from direct view by a dense torus of dust. This sharp close-up of the dying star’s nebula was recorded in 2009 by the Hubble Space Telescope’s Wide Field Camera 3, and is presented here in reprocessed colors. Cutting across a bright cavity of ionized gas, the dust torus surrounding the central star is near the center of this view, almost edge-on to the line-of-sight. Molecular hydrogen has been detected in the hot star’s dusty cosmic shroud. NGC 6302 lies about 4,000 light-years away in the arachnologically correct constellation of the Scorpion (Scorpius).

img_25591129_202626_sm

3. Rose Galaxy –1,2,3,4,5

Image result for rose galaxy

กุหลาบอวกาศ ถือกำเนิดจากสองกาแล็กซี่ม้วนตัวมาชนกัน ห่างจากทางช้างเผือกไป 300 ล้านปีแสง การเคลื่อนผ่านกันของกาแล็กซี่เป็นปฏิสัมพันธ์ซับซ้อนของแรงโน้มถ่วงอันก่อให้เกิดรูปร่างที่แปลกตา กาแล็กซี่เล็กด้านล่าง เกี่ยวดึงแขนของกาแล็กซี่ใหญ่ด้านบน (ซึ่งปกติจะแบนๆ เป็นกงจักร) ให้ย้อยลงมาจนมีความเหลื่อมระดับ มองคล้ายกลีบกุหลาบ ในอนาคตกาแล็กซี่ทางช้างเผือกของเราเองก็จะเคลื่อนไปชนกับกาแล็กซี่แอนโดรมีดาเช่นกัน  และในที่สุดก็จะรวมร่างเป็นกาแล็กซี่เดียว แม้ดาราจักรอันยิ่งใหญ่ก็ยังมีพบมีผ่าน

Explanation: The spiky stars in the foreground of this sharp cosmic portrait are well within our own Milky Way Galaxy. The two eye-catching galaxies lie far beyond the Milky Way, at a distance of over 300 million light-years. Their distorted appearance is due to gravitational tides as the pair engage in close encounters. Cataloged as Arp 273 (also as UGC 1810), the galaxies do look peculiar, but interacting galaxies are now understood to be common in the universe. In fact, the nearby large spiral Andromeda Galaxy is known to be some 2 million light-years away and approaching the Milky Way. Arp 273 may offer an analog of their far future encounter. Repeated galaxy encounters on a cosmic timescale can ultimately result in a merger into a single galaxy of stars. From our perspective, the bright cores of the Arp 273 galaxies are separated by only a little over 100,000 light-years. The release of this stunning vista celebrates the 21st anniversary of the Hubble Space Telescope in orbit.

img_25591129_202919_sm

บทความตอบคำถาม มนุษย์จะเดินทางไปได้ไกลสุดแค่ไหนในหนึ่งช่วงชีวิต –1,2,3,4

ช่วงสองหนุ่มนวดข่าว (ที่คุยกันต่อในรถ)

ข่าวติดตั้งเครื่องส่งสัญญาณจากสมองบายพาสไขสันหลังทำให้ลิงอัมพาตกลับมาบังคับขาได้ –1

How the implant works

Monkey on treadmill

Brain chip

ข่าวพบฟอสซิลสมองไดโนเสาร์ –1

Image result for dinosaur brain fossil

Image result for dinosaur brain fossil

#WiTcast ep 47.2 – James Webb คือใครหว่า? / 3 ภาพคลาสสิกกับความ EPIC ของกล้อง Hubble / ตอบคำถามทางบ้าน / แถมท้าย ช่วงสอง…

Posted by WiTcast on Sunday, 11 December 2016

คำบรรยายประกอบ 3 ภาพ EPIC ผลงาน HUBBLE ซึ่งเล่าไว้ใน #WiTcast ตอน 47.2 ครับ http://witcastthailand.com/witcast-episode-47-2/ ปล.สนใจสั่งภาพแบบเข้ากรอบสวยงาม ติดต่อได้ทาง INBOX นะครับ

Posted by WiTcast on Monday, 12 December 2016