WiTcast ep 54 – Fat Mirror

อ.สิริพร ฉัตรทิพากร แขกรับเชิญจาก WiTThai ตอนอ้วนอัลไซเมอร์ รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ และคุยอัพเดทผลวิจัยล่าสุดกับ WiTcast คราวนี้ไปดูความอ้วนในเพศชายบ้าง บรรยากาศงานประกาศรางวัล ผมเขียนบันทึกเป็นโน้ตไว้หน้านี้ครับ   เทศกาลประกวดชายอ้วน –1,2 * แก้ข้อมูลเล็กน้อย ในตอนบอกว่าเป็นการประกวดปีล่าสุด แต่แหล่งนี้บอกว่าภาพจากปี 2013 ครับ   คลิปคุณ Percy Edwards  คนทำเสียงเอเลี่ยน –1 สารคดีเบื้องหลัง Alien (1979) สถิติ ETDA สื่อสังคมออนไลน์ยอดนิยม 3 อันดับ พบว่า อันดับแรก ได้แก่ YouTube มีผู้ใช้งานมากถึง 97.3% รองลงมา คือ Facebook และ Line มีผู้ใช้งานคิดเป็น 94.8% และ 94.6% ตามลำดับ   #WiTcast ep 54 – […]

WiTThai – s01e01 “อ้วนอัลไซเมอร์” กับอ.สิริพร ฉัตรทิพากร

WiTThai ตอนนี้ เราเดินทางไปสัมภาษณ์ ทพญ. ดร. สิริพร ฉัตรทิพากร ที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2559 เนื้อหาในตอนเน้นเผยความเชื่อมโยงระหว่างความอ้วนกับโรคอัลไซเมอร์ โดยเฉพาะในหญิงวัยหมดฮอร์โมน ซึ่งเป็นเรื่องที่คนทั่วไปมักไม่ทราบมาก่อน นอกจากนี้อาจารย์ยังได้อธิบายถึงภาวะร่างกายอักเสบเรื้อรัง (chronic inflammation) อันเป็นต้นตอของสารพัดโรคตั้งแต่เบาหวาน หัวใจ ไปจนถึงอัลไซเมอร์ การเห็นความเชื่อมโยงของสาเหตุนำไปสู่การทดลองค้นพบตัวยาและวิถีชีวิตที่น่าจะสามารถช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ ตลอดจนช่วยซ่อมแซมความเสียหายต่างๆ ที่เกิดจากภาวะอักเสบได้ งานวิจัยที่พูดถึงในตอนนี้ได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งในงานวิจัยเด่นของสกว.ประจำปี 2558 ลำดับเนื้อหาในตอน แนะนำรายการใหม่ WiTThai / สัมภาษณ์อ.สิริพร ฉัตรทิพากร ที่ม.เชียงใหม่ / สรุปย่อความเชื่อมโยงไขมันกับอัลไซเมอร์ /  ย้อนไปเล่าเบสิกของการอักเสบอันเป็นบ่อเกิดของโรคต่างๆ / โยงเข้าเรื่องเบาหวาน / เล่าขั้นตอนการทดลองของอาจารย์ / ผลชี้ยาต้านเบาหวานช่วยกู้ความจำและป้องกันเซลสมองเสื่อมในหนูอ้วนได้ / เป็นโมเดลที่เหมาะเอาไปพัฒนากับคนต่อไป SHOW NOTE ชื่อเต็มงานวิจัย “ผลของยาต้านเบาหวานและเอสโตรเจนต่อการเรียนรู้และความจำของสมองในภาวะอ้วนและขาดฮอร์โมนเพศหญิง “ ชื่อและตำแหน่งเต็มอาจารย์ “รศ.ทพญ.ดร.สิริพร ฉัตรทิพากร” อ. ศิริพร ในวันรับรางวัลงานวิจัยเด่นของสกว.ประจำปี […]

WiTcast – episode 10.2 ปรากฏการณ์ไคเมร่า 1 คน 2 DNA และเซลลูกที่ทะลุรกไปโตต่อในตัวแม่

SHOW NOTE ไคเมร่า (Chimera) – ข่าวพบเซลลูกแฝงเป็นไคเมร่าอยู่ในสมองแม่ และความเชื่อมโยงกับอัลไซเมอร์ –1,2,3,4 สีน้ำเงินคือเซลลูกที่แทรกอยู่ในสมองแม่ ตรวจเจอโดยการแสกนหายีนจากโครโมโซม Y – เรื่องราวอื่นๆ เกี่ยวกับกรณีเซลตัวอ่อนอพยพไปแฝงตัวอยู่ในร่างกายแม่ (fetal microchimerism) และผลกระทบที่เกิดตามมา – 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12,13,14,15,16,17 – ทฤษฏีวิวัฒนาการสามเศร้า ความขัดแย้งระหว่างยีนพ่อแม่ลูก และปรากฏการณ์ไคเมร่า – 1,2 – ไคเมร่าแบบอื่นๆ เช่นที่เกี่ยวกับฝาแฝดซึ่งไม่ได้เกิดมาแต่เซลยังมีชีวิตอยู่ในตัวเรา (genetic chimerism) กรณีในคน – 1,2,3,4,5,6 – Podcast ฝรั่งชื่อ Radio Lab มีตอนเกี่ยวกับชีวิตผู้หญิงที่ค้นพบว่าตัวเองเป็นไคเมร่า – 1 – กรณีไคเมร่าในสัตว์ เช่น มาโมเซ็ต – 1,2,3