WiTcast Special – ความรัก สัตว์เลี้ยง และอ็อกซีโตซิน

งานวิจัยหมาเข้าเครื่องแสกนสมอง ผลชี้รักเจ้าของมากกว่าหรือพอๆ กับอาหาร   งานวิจัยให้แมวเลือกระหว่างคนกับของเล่นและอาหาร งานวิจัยแมวอ่านอารมณ์ งานวิจัยวัดระดับอ็อกซิโตซินก่อนและหลังเล่นกับหมา งานวิจัย oxytocin ในแมว –1,2 สัตว์เลี้ยงกับสุขภาพเจ้าของ   เรื่องพฤติกรรมผัวเดียวเมียเดียว (Monogamy) กับอ็อกซีโตซิน –1,2,3 เปเปอร์สรุปงานวิจัยในคน พ่นอ็อกซีโตซินเข้าจมูกแล้วเกิดอะไรขึ้นบ้าง

WiT News – คุยข่าววิทย์ ชิมแพนซีใช้แมลงเป็นยาทาแผลให้เพื่อน guest กฤษณ์ & ปอล แก๊งคนดูลิง

คลิปยูทูบ In this clip, filmed by @alessandra_masc, you see the adult #chimpanzee #female Suzee, catching and applying an #insect to the open #wound on the foot of her adolescent #son, Sia. pic.twitter.com/JTLryXw0ac — Ozougachimps (@ozougachimps) February 7, 2022   WiT News – ชิมแพนซีใช้แมลงทาแผลให้เพื่อน Guest : แก๊งคนดูลิง – คุณปอล นักวิจัยลิงในห้องแล็บ, คุณกฤษณ์ นักวิจัยลิงภาคสนาม   ที่มาข่าว https://www.nytimes.com/2022/02/07/science/chimpanzees-insects-medicine-wounds.html https://www.cbc.ca/radio/asithappens/as-it-happens-the-tuesday-edition-1.6343883/chimpanzees-may-use-insects-as-medicine-to-treat-wounds-study-finds-1.6345195 […]

WiTcast 114 – A Brief History of Sex and Love / เปิดตัวแก๊ง 4 หนุ่มอย่างไม่เป็นทางการ

EP นี้เปิดตัวไม่เป็นทางการแก๊ง 4 หนุ่ม พี่เอ้ว – ชัชพล เกียรติขจรธาดา พี่ชิ้น – นําชัย ชีววิวรรธน์ พี่หนุ่ม – โตมร ศุขปรีชา และข้าพเจ้า – แทนไท ประเสริฐกุล มาช่วยกันเล่ากันคุยในหัวข้อ “A Brief History of Sex and Love” ทำไมโลกนี้ต้องมีเพศ? แล้วทำไมถึงต้องมี 2 เพศ(หลัก)? แล้วทำไมเพศผู้กับเพศเมียถึงต่างกัน?   วิดิโอไลฟ์สด   TIME STAMPS สำหรับ podcast 0:00 แนะนำตัว 12:00 เข้าเรื่อง ทำไมถึงมี sex? 29:03 ทำไมต้องมีสองเพศ? 40:00 แรงขับดันให้ทำอะไรอันตรายเพื่อดึงดูดเพศตรงข้าม 46:08 ทำไมระหว่างมีเซ็กส์ต้องร้อง 54:49 parental investment […]

WiTThai s03e05 – “พฤติกรรมออนไลน์ กับ #ห้องแห่งเสียงสะท้อน” อ. พิรงรอง รามสูต

WiTThai ตอนนี้ พาไปเรียนรู้อย่างรีแล็กซ์ กับ ศ. ดร. พิรงรอง รามสูต  รองอธิการบดี กำกับดูแลด้านสื่อสารบริการสังคมและพันธกิจสากล คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   ทำความรู้จักคอนเซ็ปของปรากฏการณ์ทางการสื่อสารต่างๆ ในยุคโซเชียลมีเดีย Echo Chamber หรือห้องแห่งเสียงสะท้อนออนไลน์ คืออะไร? Filter Bubble หรือภาวะฟองสบู่กรองข่าวสาร คืออะไร? Hate Speech หรือประทุษวาจา คืออะไร?   ในงานวิจัยล่าสุดของอ.พิรงรองและคณะ ซึ่งมีชื่อว่า “ห้องแห่งเสียงสะท้อนออนไลน์ กับผู้ออกเสียงเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ.2562” เราจะได้ค้นพบว่า คนรุ่นใหม่มีทัศนคติต่อทางการเมืองไทยอย่างไร ? การกดไลค์ กดแชร์ คอมเม้น ในเพจการเมืองขั้วใดขั้วหนึ่ง ส่งผลอย่างไรต่อข่าวสารที่ได้รับผ่านฟีดเฟซบุค ? นักศึกษามหาวิทยาลัย เปิดกว้างต่อความคิดเห็นที่แตกต่างจริงหรือไม่ ? ความขัดแย้งบนโลกออนไลน์ เชื่อมต่อกับการแสดงออกในโลกจริงอย่างไร ? ในทวิตภพ มีภาวะห้องแห่งเสียงสะท้อนเกิดขึ้นหรือไม่ ? อะไรสามารถเป็นสะพานเชื่อมระหว่างห้องที่ปกติอยู่แยกกัน ?   […]