WiTcast 110 – ไฮไลท์ข่าววิทย์เด็ดๆ จากปี 2021 กับแก๊งค์ The Principia

หมู่คณะแขกรับเชิญในตอนนี้ รวมตัวกันมาจากเพจนำเสนอคอนเท็นต์วิทยาศาสตร์หน้าใหม่ The Principia (เว็บไซต์ https://theprincipia.co/) ฟังแล้วชอบ อย่าลืมไปติดตามและสนับสนุนกันนะครับ TIME STAMPS 0:00 เกริ่นนำ ทักทาย แนะนำแก๊งค์ The Principia (เต้,กน,ภูริ,นิก,หญิง,เฟิส) 21:34 เข้าไฮไลท์ข่าวใหญ่ปี 2021 – โควิดกลายพันธุ์ 40:05 คุณนิกเล่าข่าวการสำรวจอวกาศช่วงต้นปี หลายประเทศส่งยานไปดาวอังคารพร้อมๆ กัน 54:52 เต้เล่าข่าวบรรพชีวิน เบบี้หยิงเหลียง (Baby Yingliang) กับซากเซลล์และ DNA อายุ 125 ล้านปี + คุยเรื่องโคลนแมมอธ + แมลงยักษ์ๆ สมัยก่อน 1:12:01 บริษัทไบโอเทคมาแรง Gingko Bioworks รับออกแบบสิ่งมีชีวิต 1:18:20 คุณนิกเล่าข่าวอวกาศช่วงกลางปี 2021 โครงการ DART + การไปอวกาศของคนธรรมดาที่ไม่ใช่นักบินอวกาศ 1:50:00 เฟิสเล่าข่าวพฤติกรรมหนอนผีเสื้อกับมด […]

WiTcast 102.1 – เม้ามันกับพี่ชิ้นและอ.ป๋วย / โปรตีนวอร์ / จิตวิทยาน่าสนใจ

TIME STAMP 0:00 ช่วงแรก แนะนำตัวพี่ชิ้นและอ.ป๋วย 26:05 จารย์ป๋วยเล่าสงครามโปรตีน (AlphaFold vs Rosetta Fold) AI เจ้าไหนจะไขปริศนาทำนายโครงสร้าง 3 มิติของโปรตีนได้เจ๋งกว่ากัน 32:05 เบรกปูพื้นฐานชีววิทยาโมเลกุล DNA, RNA, Protein ให้คนไม่เคยเรียน ใครรู้อยู่แล้วข้ามช่วงนี้ไปก็ได้ 41:05 กลับมาฟังจารย์ป๋วยเล่าต่อ 1:14:15 พี่ชิ้นช่วยเสริมเรื่องที่มาของชื่อ Rosetta ตามด้วยช่วงนักชีวโมเลกุลหัวร้อนกับการตั้งชื่อโปรตีน 1:31:40 พี่ชิ้นเล่าเรื่องงานวิจัยสนุกๆ จากคอลัมน์ที่เขียน และหนังสือเล่มใหม่ เธอ ฉัน สวรรค์ นรก   แขกรับเชิญตอนนี้คือ พี่ชิ้น นําชัย ชีววิวรรธน์ เจ้าของผลงานล่าสุด หนังสือ “เธอ ฉัน สวรรค์ นรก” และ อ. ป๋วย อุ่นใจ หนึ่งในผู้เขียนหนังสือ “Vaccine War สมรภูมิวัคซีนโควิด-19” […]

WiTThai – s02e06 “My Elephant Poop” เก็บขี้ช้าง ที่กลางไพร กับ อ.ชลิตา คงฤทธิ์

ถ้าฟังจบแล้วเชิญส่งรีวิว และเล่นเกมชิงรางวัลได้ที่นี่ (คลิก) วิดิโอเสริม เล่าการเข้าป่าเก็บขี้ คลิปที่ 1 (คนละเนื้อหากับใน podcast นะ) วิดิโอเสริม เล่าการเข้าป่าเก็บขี้ คลิปที่ 2 (ถ่ายไว้ระหว่างอัด podcast) บรรยากาศการพูดคุยที่มหิดลศาลายา ขนาย งาช้างตัวเมีย พลายสีดอ ช้างตกมัน (Musth)   ตัวอย่างขี้ช้าง เครื่อง PCR ไว้เพิ่มก็อปปี้ชิ้น DNA (เหมือนหม้อหุงข้าวเลย) อาจารย์มิ้งฉายสไลด์ให้ดูขั้นตอนการเก็บตัวอย่างในพื้นที่ เจอแล้ว! ความฉ่ำวาว และมีเยื่อเมือก นมช้าง ฟันช้าง   วิดิโอเรื่องสัตว์เพศเมียที่มีอวัยวะแบบป้องกันการข่มขืน (rape-proof)   หนังสือ “เสียงคน เสียงช้างป่า” ถ้าใครสนใจลองสอบถามเข้ามาได้นะฮะ จะไปถามสกว.ให้อีกที ของรางวัลประจำตอน – กระดาษขี้ช้าง  ถ้าฟังจบแล้วเชิญส่งรีวิว และเล่นเกมชิงรางวัลได้ที่นี่ (คลิก)

WiTThai – s02e03 “Doctor Mutant” อ.วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ผู้เชี่ยวชาญโรคพันธุกรรมหายาก

ถ้าฟังจบแล้วเชิญทำแบบสอบถามได้ที่นี่ (คลิก) ฟังอ.วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ (นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ปี 2559 และคนไทยคนแรกที่รับรางวัล Newton Prize) แชร์ข้อคิด ประสบการณ์ การทำงาน การใช้ชีวิต ความรู้เรื่องโรคพันธุกรรมหายาก และวิชาเวชพันธุศาสตร์ ชีวิตที่สมดุลย์ วัยเด็กที่อบอุ่นและใกล้ชิดธรรมชาติ – สมดุลย์ระหว่างการเรียนกับการเล่น มุมมองการศึกษา – สมดุลย์ของเด็กที่เรียกว่า “เก่ง” มุมมองความสำเร็จ – อะไรคือปัจจัยที่ทำให้คนเราไปได้ไกล? มุมมองวงการวิจัย – ทำไมเมืองนอกไปได้ไกลกว่าเมืองไทย? เคล็ดลับการสร้างทีม – เริ่มจากศูนย์ จนเป็นศูนย์วิจัย ทำได้ไง? เคล็ดลับการใช้ชีวิต – สมดุลย์ 4 อ. มีอะไรบ้าง ต้องไปฟัง   โรคพันธุกรรมหายาก หายากขนาดไหน? มีอะไรบ้าง? การกลายพันธุ์ในชีวิตจริง เหมือนหรือต่างกับในหนังอย่างไร? การเข้าใจโรคหายาก ทำให้เข้าใจโรคหาง่ายได้ยังไง? สิ่งที่หมอเรียนรู้จากคนไข้ นอกจากเรื่องวิชาการ ปรัชญาความหลากหลายและความสมดุลย์ในธรรมชาติ   คำถามแถมท้าย ธุรกิจ […]

WiTThai – s01e09 “Bio-Physics” มหัศจรรย์แสงส่องสาร กับสมบัติลับของ DNA – ft. อ.เก่ง ชิตนนท์ บูรณชัย

SHOW NOTE WiTThai ตอนนี้ ฟีเจอริ่งผลงานของอ.เก่ง ชิตนนท์ บูรณชัย แห่งภาควิชาฟิสิกส์ ม.สงขลานครินทร์ นะฮะ คำบรรยายเวอร์ชั่นทางการ WiTThai ตอนนี้เป็นตอนที่บันทึกบทสนทนาระหว่างผู้ดำเนินรายการแทนไท ประเสริฐกุล กับผศ.ดร. ชิตนนท์ บูรณชัย ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บทสนทนาเกิดขึ้นระหว่างกิจกรรมค่ายพสวท. ที่หาดใหญ่ในเดือนกรกฎาคม 2559 จากนั้นได้นำเสียงที่บันทึกไว้มาเปิดให้ผู้ร่วมดำเนินรายการอีกสองท่านฟังเพื่อร่วมกันพูดคุยเพิ่มเติม แล้วจึงตัดต่อเป็นรายการ WiTThai ออกมา เนื้อหาของตอนนี้ไล่เรียงตั้งแต่ การเปิดโลกสาขาวิชาไบโอฟิสิกส์ให้คนทั่วไปได้รู้จักในเบื้องต้น การนำความรู้เรื่องแสงฟลูออเรสเซนต์มาประยุกต์ใช้ศึกษาพฤติกรรมของชีวโมเลกุลอย่างโปรตีนหรือดีเอ็นเอ (เทคนิกที่ชื่อว่า Single Molecule FRET) จากนั้นอ.ชิตนนท์ ได้เล่าต่อถึงงานวิจัยที่ทำอยู่ ซึ่งเกี่ยวกับการนำดีเอนเอสายสั้นๆ ที่ขดเป็นรูปร่างต่างๆ (aptamers)  มาประยุกต์ใช้ในการตรวจจับสาร เช่น ปรอท ซึ่งอาจารย์ได้เรียกลักษณะงานประเภทนี้ว่าการออกแบบไบโอเซ็นเซอร์  อ.ชิตนนท์เล่าถึงความยากลำบากในช่วงที่กลับมาจากต่างประเทศใหม่ๆ แล้วยังไม่มีทุนวิจัย ทำให้ต้องมีวิธีการคิดพลิกแพลงแก้ปัญหาจนกระทั่งได้รับทุนจากสกว.ในเวลาต่อมา WiTcast ภูมิใจเสนอ#WiTThai – s01e09 ตอน Bio-Physics – มหัศจรรย์แสงส่องสาร กับสมบัติลับของ DNA […]